แคมเปญ
บล็อก
เริ่มแคมเปญ
En
ไทย
En
ไทย
แคมเปญ
บล็อก
เริ่มแคมเปญ

มูลนิธิชุมชนเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต

1405
0 THB / 200,000 THB
ระดมทุนจาก 0 คน ใน 2280 วัน
ร่วมบริจาค
แชร์บน Facebook
ยืนยันตัวตนด้วย

สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2561



ข้อมูลมูลนิธิ

มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี (Klong Toh Lem Academy Foundation)
มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี: Klong Toh Lem Academy Foundation เลขทะเบียนมูลนิธิ 1/2560 เลขบัตรประจาตัวผู้เสียภาษีอากร 099-3-00037798-2 วิสัยทัศน์ (Vision) : มูลนิธิชุมชนเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต : The Community Foundation for Society of Lifelong Learning. พันธะกิจ (Mission) : 1. ส่งเสริม/พัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Support / Develop the Society of lifelong learning) 2. ส่งเสริม / พัฒนาองค์กรชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อปกปักรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นและ ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน (Support / Develop the community base organization to work for conservative the local wisdom and environmental). 3. บริหาร/จัดการเรียนรู้การศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ( Managing / Organize the Formal Education, non-formal education and informal education). 4. สร้าง / พัฒนาภาคีเครือข่ายการประสานงานและดาเนินงานระหว่างองค์กรภาครัฐ องค์กรเอกชน และ องค์กรชุมชน (Create / Develop the networking among governmental organization, non-governmental organization and community base organization). 5. ไม่ดาเนินงานเกยี่ วข้องกับการเมือง (non-politic organization) ความเป็นมา (History) ชุมชนบ้านโคกพยอม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 18 ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูลประกอบด้วย 2 ชุมชน คือชุมชนตีหงี และชุมชนโคกพยอม อยู่ห่างจากตัวอาเภอละงูไปทางทิศใต้ประมาณ 8 กิโลเมตร มีประชากรทั้งหมด 666 คน จาก 132 ครัวเรือน ลักษณะทางกายภาพของหมู่บ้านคล้าย สี่เหลี่ยมผืนผ้า ทอดตัวยาวจากทางทิศเหนือมาทิศใต้ ยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 3,052 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มและสูงเนิน โดยมีอาณาเขต ทิศเหนือจรดบ้านนาพญา หมู่ที่ 8 ตาบลละงู ทิศใต้จรดบ้านท่าชะมวง หมู่ที่ 1 ตาบลละงู และบ้านบากันโต๊ะทิด หมู่ที่ 7 ตาบลละงู ทิศ ตะวันออกจรดคลองตีหงีและป่าชายเลน ทิศตะวันตกจรดบ้านท่าชะมวง หมู่ที่ 1 ตาบลละงู การ เดินทางจากถนนใหญ่สายบ้านหัวทาง – บากันโต๊ะทิด มีถนนสายย่อยเข้าหมู่บ้าน 4 สาย ซึ่งบรรจบ กันทุกสาย เดิมบ้านโคกพยอมอยู่ในเขตการปกครองของหมู่ที่ 1 บ้านท่าชะมวงตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล แต่เนื่องจากสภาพการเป็นอยู่ของชาวบ้านที่มีประชากรเพิ่มขึ้น จานวนครัวเรือนเพิ่มขึ้น ทาให้การปกครองและการดูแลไม่ทั่วถึง จึงได้มีการขอแยกหมู่บ้านออกจากหมู่ที่ 1 เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2546 เป็นหมู่ที่ 18 บ้านโคกพยอมในปัจจุบัน ชาวบ้านส่วนใหญ่ร้อยละ 80 นับถือศาสนาอิสลาม มีมัสยิด 1 แห่ง ซึ่งเป็นสถานที่ประกอบ ศาสนกิจ ส่วนชาวพุทธประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่วัดท่าชะมวง หมู่ที่ 1 มีโรงเรียนบ้านโคกพยอม ที่สอนระดับชั้นประถมศึกษา ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษานักเรียนจะไปศึกษาต่อในโรงเรียนประจา อาเภอและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัด จากสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและเนินสูง ในพื้นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การทานา ส่วน พื้นที่เป็นเนินสูงนั้นจะระบายน้าได้เร็ว เหมาะแก่การปลูกไม้ยืนต้นเศรษฐกิจ เช่น ยางพารา ปาล์ม น้ามัน มะพร้าว สภาพพื้นที่อีกฝั่งหนึ่งของหมู่บ้านติดกับคลองตีหงี ซึ่งเป็นคลองน้าเค็ม มีการประกอบ อาชีพประมงพื้นบ้าน และเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง ซึ่งเป็นอาชีพที่สร้างรายได้หลักของคนในชุมชน กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนหมู่ที่ 18 บ้านโคกพยอม ด้วยแกนนาชุมชนรวมตัวกับชาวบ้าน ได้ตั้งกลุ่มขึ้นมากลุ่มหนึ่ง คือกลุ่มเลี้ยงแพะโคกศิบูซึ่ง อยู่ในป่าชายเลน เมื่อปีพ.ศ. 2544 จากที่ชาวบ้านได้ไปคลุกคลีอยู่กับป่าชายเลนบริเวณที่เลี้ยงแพะอยู่ เป็นประจาได้เห็นสภาพป่าชายเลนมีความเสื่อมโทรมของป่าจากการทาลายของนายทุน พร้อมกับ ชาวบ้านได้รับรู้ข่าวสารจากสัมปทานป่าไม้ถูกยกเลิก ชาวบ้านก็ได้มีความคิดที่จะดูแลรักษาป่า เพื่อให้ ป่ามีสภาพสมบูรณ์ขึ้น เพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตย์น้า เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา เพราะป่าชายเลน และ ลาคลองแห่งนี้เปรียบเสมือนสายเลือดที่หล่อเลี้ยงของชาวชุมชนบ้านโคกพยอม จากนั้น สมาชิกในกลุ่มเลี้ยงแพะก็ได้ทาการปลูกป่าครั้งแรกขึ้นที่บริเวณป่าชายเลนโคกศิบู ใกล้ที่เลี้ยงแพะ ชาวบ้านมีความตื่นตัวมากในการที่จะอนุรักษ์ป่า หลังจากนั้นก็ได้เชิญหน่วยราชกาล ของอาเภอ เช่น นายอาเภอ ครู นักเรียน รวมกับชาวบ้าน เมื่อทุกคนเห็นความสาคัญเห็นคุณค่าของ ป่าชายเลน พร้อมกับชาวบ้านรับรู้ข่าวสารในเรื่องของป่าชุมชน ชาวบ้านให้ความร่วมมือมากขึ้น ก็ได้ จัดกิจกรรมการปลูกป่าขึ้นมาต่อเนื่องในวันสาคัญต่างๆ โดยมีหน่วยงานราชการเข้ามาร่วมทุกครั้ง เช่น วันพ่อ – วันแม่ – วันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เมื่อได้เห็นความเข้มแข็งของชุมชนก็ได้เปิดรับสมาชิกและได้ ขอพื้นที่ป่าชายเลน เป็นป่าชุมชน เพื่อชาวบ้านได้ดูแลรักษาโดยชุมชนเอง แล้วก็ได้รับการยินยอมจาก หน่วยงานมาเป็นป่าชุมชน ในพื้นที่ 1,250 ไร่ จนได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณต่างๆ ชาวบ้านโคกพยอมมีกิจกรรมที่ดาเนินร่วมกันหลายอย่างเช่น กิจกรรมเนื่องในวันสาคัญต่างๆ ซึ่งการดาเนินกิจกรรมร่วมกันนั้น สิ่งที่ชาวบ้านเล็งเห็นความสาคัญและขาดไม่ได้เลย คือการอนุรักษ์ และร่วมฟื้นฟูป่าชายเลน ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งในการสร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมของชาวบ้านโคก พยอม ที่ได้มองเห็นถึงความสาคัญของทรัพยากร ซึ่งเป็นเสมือนอู่ข้าวอู่น้าของชุมชน จนทาให้เกิดการ รวมกลุ่มเพื่ออนุรักษ์ป่าชายเลนขึ้นมาในปี 2546 มีการดาเนินกิจกรรมของกลุ่มอาทิเช่น การร่วม รณรงค์การอนุรักษ์ป่าโดยการกาหนดพื้นที่ป่าเป็นป่าเฉลิมพระเกียรติ ป่าอนุรักษ์ ป่าสมุนไพร ป่าใช้ สอย รวมไปถึงการกาหนดกฎกติกาการใช้สอยประโยชน์จากป่าใช้สอย เช่นหากมีการตัดไม้ต้องมีการ ปลูกทดแทน โดยมีคณะกรรมการบริหารเป็นผู้ดูแล กิจกรรมปลูกป่าปล่อยพันธุ์สัตว์น้า ในวันสาคัญ ต่างๆ ได้แก่ วันแม่แห่งชาติ และวันพ่อแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2552 สมาคมอาสาสมัครนานาชาติเพื่อการพัฒนาสังคม (ดาหลา) ได้ร่วมมือกับทาง ชุมชนบ้านโคกพยอม เริ่มงานค่ายอาสาสมัครนานาชาติขึ้นในชุมชน โดยร่วมกันจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ้น เพื่อร่วมกันเปิดโอกาสให้กับเยาวชนในท้องถิ่นและอาสาสมัครจากที่อื่นๆ ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านการปฏิบัติงานตามโครงการต่างๆ ร่วมกัน เช่น โครงการในด้านการศึกษาทางเลือก ภาษาอังกฤษ ศิลปะ ฯลฯ โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่นการร่วมกันปลูกพันธุ์ไม้ทดแทน ในเขตป่าโกงกาง การคัดแยกขยะในชุมชน การทาบ่อเลี้ยงปูธรรมชาติ ไปจนถึงการร่วมกันก่อตั้งศูนย์ เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม” เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ อาสาสมัครนานาชาติ รวมทั้ง ผู้สนใจทั่วไป ได้มีพื้นที่ที่เหมาะแก่การเรียนรู้ภูมิปัญญา วิถีการดารงชีวิตอย่างรู้คุณค่า ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเป็นศูนย์กลางเพื่อการรวบรวมข้อมูลข่าวสารความรู้ของ ชุมชนที่จะนาไปสู่การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เป็นแหล่งเสริมสร้างโอกาสทางการเรียนรู้ การถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชุมชน และการบริการชุมชนในด้านต่างๆ กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน ได้รับความอนุเคราะห์จาก คุณศสิรังสิมัญต์ ซีทรัพย์เจริญ และ คุณ นฤดม อังศุภานิช โดยอนุญาตให้ใช้ที่ดิน น.ส. 3 ก แปลงเลขที่ 6297 เลขที่ 54 ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล จานวนเนื้อ 1 งาน 34 ตารางวาเพื่อสาธารณะประโยชน์เป็นที่ทาการกลุ่มอนุรักษ์ป่าชาย เลน หมู่ที่ 18 บ้านโคกพยอม การส่งเสริมและสนับสนุนในด้านอาสาสมัครซึ่งเข้ามามีส่วนร่วมในการ ดาเนินการจัดการเรียนรู้แก่เยาวชนและร่วมผลักดันโครงการต่างๆ จากสมาคมอาสาสมัครนานาชาติ เพื่อการพัฒนาสังคม (ดาหลา) ตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน การสนับสนุนด้านงบประมาณและ แนวทางในการดาเนินงานจัดการทรัพยากรป่าชายเลนจากสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 36 (ละงู สตูล) การสนับสนุนด้านการประสานงานการดาเนินงานและงบประมาณดาเนินกิจกรรมด้าน การอนุรักษ์ต่างๆ จากส่วนสิ่งแวดล้อม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล ใน ด้านของการดาเนินงานเครือข่าย ทสม.จังหวัดสตูล การดาเนินงานร่วมกับสภาองค์กรชุมชนตาบลละงู และศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (สกว.สตูล) ในการส่งเสริมการดาเนินงานต่างๆ จนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2559 กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนฯ ได้ขึ้นทะเบียนเป็นเครือข่ายภาคีในการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของประเทศไทย ร่วมกับกองส่งเสริมการบริหาร จัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม” ศูนย์เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตป่าชุมชน หมู่ 18 ชุมชนบ้าน โคกพยอม อ. ละงู จ. สตูล โดยการรวมตัวกันของคนในชุมชนเพื่อจัดสรรและดูแลรักษาผืนป่าชุมชน ซึ่งเป็นผืนป่าโกงกางและมีลาคลองสายหลักชื่อ คลองติงหงี ทั้งยังมีลาคลองเล็กๆ แยกเข้าไปในป่าอีก หลายสาย โดยเฉพาะสายที่เรียกกันว่า คลองโต๊ะเหล็ม นั้น ชาวบ้านร่วมกันจัดพื้นที่ป่าและลาคลอง ส่วนนี้ไว้เป็นพื้นที่สาหรับการเรียนรู้ ทั้งในเรื่องของภูมิปัญญา การทามาหากิน และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม” คือพื้นที่เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ อาสาสมัคร นานาชาติ รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป ได้มีพื้นที่ที่เหมาะแก่การเรียนรู้ภูมิปัญญา วิถีการดารงชีวิตอย่างรู้ คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเป็นศูนย์กลางเพื่อการรวบรวมข้อมูลข่าวสารความรู้ ของชุมชนที่จะนาไปสู่การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เป็นแหล่งเสริมสร้างโอกาสทางการ เรียนรู้ การถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของ ชุมชน และการบริการชุมชนในด้านต่างๆ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม” เป็นพื้นที่เพื่อการเรียนรู้ของคนในชุมชน เพื่อให้ ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการดาเนินการโดยชุมชน เพื่อชุมชน ที่ จะก่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน และเป็นสถานที่ที่สร้างความผูกพันระหว่างคนใน ชุมชนกับเรื่องราวของชุมชนเอง โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย ให้เยาวชนและชุมชนได้รับการส่งเสริมให้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างเสริม กระบวนการและโอกาสการเรียนรู้ของชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และจัดการ ศึกษาให้กับชุมชนเอง และเพื่อการสืบทอดภูมิปัญญา วิถีการดาเนินชีวิต และการอนุรักษ์ธรรมชาติใน ชุมชน มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี (มูลนิธิชุมชนเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต) ด้วยศูนย์เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม” เป็นพื้นที่เพื่อการเรียนรู้ของคนในชุมชน เพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการดาเนินการโดยชุมชน เพื่อ ชุมชน ที่จะก่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน และเป็นสถานที่ที่จะสร้างความผูกพัน ระหว่างคนในชุมชนกับเรื่องราวของชุมชนเอง มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัด กิจกรรมการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาทางเลือก ให้เยาวชนและชุมชน ได้รับการส่งเสริมให้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างเสริมกระบวนการและโอกาสการเรียนรู้ของชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และจัดการศึกษาให้กับชุมชนเอง และเพื่อการสืบทอด ภูมิปัญญา วิถีการดาเนินชีวิต และการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชน คณะกรรมการบริหารศูนย์เรียนรู้ ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม” จึงได้ปรึกษาหารือกันเพื่อจัดตั้งมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี เพื่อ ดาเนินการตามหลักการดังกล่าว โดยใช้ชื่อเต็มว่า มูลนิธินชี้ ื่อว่า มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี มีชื่อ ย่อว่า คตล. เรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Klong Toh Lem Academy Foundation เครื่องหมาย ของมูลนิธิ คือ รูปคล้ายต้นโกงกาง รากทั้งสามสื่อถึงรากฐานการเรียนรู้ บ้าน มัสยิด ศูนย์เรียนรู้ฯ เปรียบเสมือน รากฐานการดารงชีวิตที่ทางมูลนิธิ ต้องการปลูกฝัง ส่วนต้นและใบหมายถึงการ ดารงชีวิตที่ดีงาม เป็นดอกผลที่ดีสู่สังคม โดยมีวัตถุประสงค์ของมูลนิธินี้ คือ 1. ส่งเสริมและพัฒนา กระบวนการการศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดี มีความรู้ เชิดชูคุณธรรม ดาเนินชีวิตตามหลัก ศาสนา พัฒนาแนวคิดอย่างสร้างสรรค์ ทันต่อเหตุการณ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งดารง ตนอยู่ในสังคมและธรรมชาติอย่างมีความสุข 2. ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อปกปัก รักษาป่าชุมชน เสริมสร้าง อนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนและวิถีประมงพื้นบ้านอย่างยั่งยืน 3. ดาเนินการจัดการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดโอกาส เด็กกาพร้า และเยาวชนที่สนใจในการศึกษานอก ระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยและการศึกษาทางเลือก 4. ดาเนินการหรือร่วมมือกับองค์กรการกุศลเพื่อ การกุศล และองค์กรสาธารณประโยชน์ เพื่อสาธารณประโยชน์ 5. ไม่ดาเนินการเกี่ยวข้องกับการเมือง แต่ประการใด


https://www.facebook.com/groups/klongtohlemacademy/
อีเมล์ : klongtohlem.academy1@gmail.com ---- เบอร์โทรศัพท์ : 0807098736

การบริจาค 500 บาทขึ้นไปสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้



เรื่องราว
76 เดือนที่แล้ว

มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี: Klong Toh Lem Academy Foundation

เลขทะเบียนมูลนิธิ 1/2560 เลขบัตรประจาตัวผู้เสียภาษีอากร 099-3-00037798-2

วิสัยทัศน์ (Vision) : มูลนิธิชุมชนเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต : The Community Foundation for Society of Lifelong Learning.

  พันธะกิจ (Mission) :

ส่งเสริม/พัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Support / Develop the Society of

lifelong learning)

ส่งเสริม / พัฒนาองค์กรชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อปกปักรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นและ

ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน (Support / Develop the community base organization to

work for conservative the local wisdom and environmental).

บริหาร/จัดการเรียนรู้การศึกษาในระบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

( Managing / Organize the Formal Education, non-formal education and informal

education).

สร้าง / พัฒนาภาคีเครือข่ายการประสานงานและดาเนินงานระหว่างองค์กรภาครัฐ องค์กรเอกชน

และ องค์กรชุมชน (Create / Develop the networking among governmental

organization, non-governmental organization and community base organization).

ไม่ดาเนินงานเกยี่ วข้องกับการเมือง (non-politic organization)

  ความเป็นมา (History)
ชุมชนบ้านโคกพยอม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 18 ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูลประกอบด้วย 2

ชุมชน คือชุมชนตีหงี และชุมชนโคกพยอม อยู่ห่างจากตัวอาเภอละงูไปทางทิศใต้ประมาณ 8 กิโลเมตร มีประชากรทั้งหมด 666 คน จาก 132 ครัวเรือน ลักษณะทางกายภาพของหมู่บ้านคล้าย สี่เหลี่ยมผืนผ้า ทอดตัวยาวจากทางทิศเหนือมาทิศใต้ ยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 3,052 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มและสูงเนิน โดยมีอาณาเขต ทิศเหนือจรดบ้านนาพญา หมู่ที่ 8 ตาบลละงู ทิศใต้จรดบ้านท่าชะมวง หมู่ที่ 1 ตาบลละงู และบ้านบากันโต๊ะทิด หมู่ที่ 7 ตาบลละงู ทิศ ตะวันออกจรดคลองตีหงีและป่าชายเลน ทิศตะวันตกจรดบ้านท่าชะมวง หมู่ที่ 1 ตาบลละงู การ เดินทางจากถนนใหญ่สายบ้านหัวทาง บากันโต๊ะทิด มีถนนสายย่อยเข้าหมู่บ้าน 4 สาย ซึ่งบรรจบ กันทุกสาย

เดิมบ้านโคกพยอมอยู่ในเขตการปกครองของหมู่ที่ 1 บ้านท่าชะมวงตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล แต่เนื่องจากสภาพการเป็นอยู่ของชาวบ้านที่มีประชากรเพิ่มขึ้น จานวนครัวเรือนเพิ่มขึ้น ทาให้การปกครองและการดูแลไม่ทั่วถึง จึงได้มีการขอแยกหมู่บ้านออกจากหมู่ที่ 1 เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2546 เป็นหมู่ที่ 18 บ้านโคกพยอมในปัจจุบัน

ชาวบ้านส่วนใหญ่ร้อยละ 80 นับถือศาสนาอิสลาม มีมัสยิด 1 แห่ง ซึ่งเป็นสถานที่ประกอบ ศาสนกิจ ส่วนชาวพุทธประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่วัดท่าชะมวง หมู่ที่ 1 มีโรงเรียนบ้านโคกพยอม

ที่สอนระดับชั้นประถมศึกษา ส่วนระดับชั้นมัธยมศึกษานักเรียนจะไปศึกษาต่อในโรงเรียนประจา อาเภอและโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัด

จากสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและเนินสูง ในพื้นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การทานา ส่วน พื้นที่เป็นเนินสูงนั้นจะระบายน้าได้เร็ว เหมาะแก่การปลูกไม้ยืนต้นเศรษฐกิจ เช่น ยางพารา ปาล์ม น้ามัน มะพร้าว สภาพพื้นที่อีกฝั่งหนึ่งของหมู่บ้านติดกับคลองตีหงี ซึ่งเป็นคลองน้าเค็ม มีการประกอบ อาชีพประมงพื้นบ้าน และเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง ซึ่งเป็นอาชีพที่สร้างรายได้หลักของคนในชุมชน

กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนหมู่ที่ 18 บ้านโคกพยอม

ด้วยแกนนาชุมชนรวมตัวกับชาวบ้าน ได้ตั้งกลุ่มขึ้นมากลุ่มหนึ่ง คือกลุ่มเลี้ยงแพะโคกศิบูซึ่ง อยู่ในป่าชายเลน เมื่อปีพ.ศ. 2544 จากที่ชาวบ้านได้ไปคลุกคลีอยู่กับป่าชายเลนบริเวณที่เลี้ยงแพะอยู่ เป็นประจาได้เห็นสภาพป่าชายเลนมีความเสื่อมโทรมของป่าจากการทาลายของนายทุน พร้อมกับ ชาวบ้านได้รับรู้ข่าวสารจากสัมปทานป่าไม้ถูกยกเลิก ชาวบ้านก็ได้มีความคิดที่จะดูแลรักษาป่า เพื่อให้ ป่ามีสภาพสมบูรณ์ขึ้น เพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตย์น้า เช่น กุ้ง หอย ปู ปลา เพราะป่าชายเลน และ ลาคลองแห่งนี้เปรียบเสมือนสายเลือดที่หล่อเลี้ยงของชาวชุมชนบ้านโคกพยอม

จากนั้น สมาชิกในกลุ่มเลี้ยงแพะก็ได้ทาการปลูกป่าครั้งแรกขึ้นที่บริเวณป่าชายเลนโคกศิบู ใกล้ที่เลี้ยงแพะ ชาวบ้านมีความตื่นตัวมากในการที่จะอนุรักษ์ป่า หลังจากนั้นก็ได้เชิญหน่วยราชกาล ของอาเภอ เช่น นายอาเภอ ครู นักเรียน รวมกับชาวบ้าน เมื่อทุกคนเห็นความสาคัญเห็นคุณค่าของ ป่าชายเลน พร้อมกับชาวบ้านรับรู้ข่าวสารในเรื่องของป่าชุมชน ชาวบ้านให้ความร่วมมือมากขึ้น ก็ได้ จัดกิจกรรมการปลูกป่าขึ้นมาต่อเนื่องในวันสาคัญต่างๆ โดยมีหน่วยงานราชการเข้ามาร่วมทุกครั้ง เช่น วันพ่อ วันแม่ วันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เมื่อได้เห็นความเข้มแข็งของชุมชนก็ได้เปิดรับสมาชิกและได้

ขอพื้นที่ป่าชายเลน เป็นป่าชุมชน เพื่อชาวบ้านได้ดูแลรักษาโดยชุมชนเอง แล้วก็ได้รับการยินยอมจาก หน่วยงานมาเป็นป่าชุมชน ในพื้นที่ 1,250 ไร่ จนได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณต่างๆ

ชาวบ้านโคกพยอมมีกิจกรรมที่ดาเนินร่วมกันหลายอย่างเช่น กิจกรรมเนื่องในวันสาคัญต่างๆ ซึ่งการดาเนินกิจกรรมร่วมกันนั้น สิ่งที่ชาวบ้านเล็งเห็นความสาคัญและขาดไม่ได้เลย คือการอนุรักษ์ และร่วมฟื้นฟูป่าชายเลน ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งในการสร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมของชาวบ้านโคก พยอม ที่ได้มองเห็นถึงความสาคัญของทรัพยากร ซึ่งเป็นเสมือนอู่ข้าวอู่น้าของชุมชน จนทาให้เกิดการ รวมกลุ่มเพื่ออนุรักษ์ป่าชายเลนขึ้นมาในปี 2546 มีการดาเนินกิจกรรมของกลุ่มอาทิเช่น การร่วม รณรงค์การอนุรักษ์ป่าโดยการกาหนดพื้นที่ป่าเป็นป่าเฉลิมพระเกียรติ ป่าอนุรักษ์ ป่าสมุนไพร ป่าใช้ สอย รวมไปถึงการกาหนดกฎกติกาการใช้สอยประโยชน์จากป่าใช้สอย เช่นหากมีการตัดไม้ต้องมีการ ปลูกทดแทน โดยมีคณะกรรมการบริหารเป็นผู้ดูแล กิจกรรมปลูกป่าปล่อยพันธุ์สัตว์น้า ในวันสาคัญ ต่างๆ ได้แก่ วันแม่แห่งชาติ และวันพ่อแห่งชาติ

ปี พ.ศ. 2552 สมาคมอาสาสมัครนานาชาติเพื่อการพัฒนาสังคม (ดาหลา) ได้ร่วมมือกับทาง ชุมชนบ้านโคกพยอม เริ่มงานค่ายอาสาสมัครนานาชาติขึ้นในชุมชน โดยร่วมกันจัดกิจกรรมต่างๆ ขึ้น เพื่อร่วมกันเปิดโอกาสให้กับเยาวชนในท้องถิ่นและอาสาสมัครจากที่อื่นๆ ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ่านการปฏิบัติงานตามโครงการต่างๆ ร่วมกัน เช่น โครงการในด้านการศึกษาทางเลือก ภาษาอังกฤษ ศิลปะ ฯลฯ โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่นการร่วมกันปลูกพันธุ์ไม้ทดแทน ในเขตป่าโกงกาง การคัดแยกขยะในชุมชน การทาบ่อเลี้ยงปูธรรมชาติ ไปจนถึงการร่วมกันก่อตั้งศูนย์ เรียนรู้ชุมชน โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็มเพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ อาสาสมัครนานาชาติ รวมทั้ง ผู้สนใจทั่วไป ได้มีพื้นที่ที่เหมาะแก่การเรียนรู้ภูมิปัญญา วิถีการดารงชีวิตอย่างรู้คุณค่า ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเป็นศูนย์กลางเพื่อการรวบรวมข้อมูลข่าวสารความรู้ของ ชุมชนที่จะนาไปสู่การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เป็นแหล่งเสริมสร้างโอกาสทางการเรียนรู้ การถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชุมชน และการบริการชุมชนในด้านต่างๆ

กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลน ได้รับความอนุเคราะห์จาก คุณศสิรังสิมัญต์ ซีทรัพย์เจริญ และ คุณ นฤดม อังศุภานิช โดยอนุญาตให้ใช้ที่ดิน น.ส. 3 ก แปลงเลขที่ 6297 เลขที่ 54 ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล จานวนเนื้อ 1 งาน 34 ตารางวาเพื่อสาธารณะประโยชน์เป็นที่ทาการกลุ่มอนุรักษ์ป่าชาย เลน หมู่ที่ 18 บ้านโคกพยอม การส่งเสริมและสนับสนุนในด้านอาสาสมัครซึ่งเข้ามามีส่วนร่วมในการ ดาเนินการจัดการเรียนรู้แก่เยาวชนและร่วมผลักดันโครงการต่างๆ จากสมาคมอาสาสมัครนานาชาติ เพื่อการพัฒนาสังคม (ดาหลา) ตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน การสนับสนุนด้านงบประมาณและ แนวทางในการดาเนินงานจัดการทรัพยากรป่าชายเลนจากสถานีพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนที่ 36 (ละงู สตูล) การสนับสนุนด้านการประสานงานการดาเนินงานและงบประมาณดาเนินกิจกรรมด้าน การอนุรักษ์ต่างๆ จากส่วนสิ่งแวดล้อม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล ใน ด้านของการดาเนินงานเครือข่าย ทสม.จังหวัดสตูล การดาเนินงานร่วมกับสภาองค์กรชุมชนตาบลละงู และศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (สกว.สตูล) ในการส่งเสริมการดาเนินงานต่างๆ จนถึงปัจจุบัน

ปี พ.ศ. 2559 กลุ่มอนุรักษ์ป่าชายเลนฯ ได้ขึ้นทะเบียนเป็นเครือข่ายภาคีในการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของประเทศไทย ร่วมกับกองส่งเสริมการบริหาร จัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ศูนย์เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม”

ศูนย์เรียนรู้ชุมชน โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตป่าชุมชน หมู่ 18 ชุมชนบ้าน โคกพยอม อ. ละงู จ. สตูล โดยการรวมตัวกันของคนในชุมชนเพื่อจัดสรรและดูแลรักษาผืนป่าชุมชน ซึ่งเป็นผืนป่าโกงกางและมีลาคลองสายหลักชื่อ คลองติงหงี ทั้งยังมีลาคลองเล็กๆ แยกเข้าไปในป่าอีก หลายสาย โดยเฉพาะสายที่เรียกกันว่า คลองโต๊ะเหล็ม นั้น ชาวบ้านร่วมกันจัดพื้นที่ป่าและลาคลอง ส่วนนี้ไว้เป็นพื้นที่สาหรับการเรียนรู้ ทั้งในเรื่องของภูมิปัญญา การทามาหากิน และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชน

ศูนย์เรียนรู้ชุมชน โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็มคือพื้นที่เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ อาสาสมัคร นานาชาติ รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป ได้มีพื้นที่ที่เหมาะแก่การเรียนรู้ภูมิปัญญา วิถีการดารงชีวิตอย่างรู้ คุณค่าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเป็นศูนย์กลางเพื่อการรวบรวมข้อมูลข่าวสารความรู้ ของชุมชนที่จะนาไปสู่การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน เป็นแหล่งเสริมสร้างโอกาสทางการ เรียนรู้ การถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของ ชุมชน และการบริการชุมชนในด้านต่างๆ

ศูนย์เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม” เป็นพื้นที่เพื่อการเรียนรู้ของคนในชุมชน เพื่อให้ ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการดาเนินการโดยชุมชน เพื่อชุมชน ที่

จะก่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน และเป็นสถานที่ที่สร้างความผูกพันระหว่างคนใน ชุมชนกับเรื่องราวของชุมชนเอง โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรม การศึกษาตามอัธยาศัย ให้เยาวชนและชุมชนได้รับการส่งเสริมให้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างเสริม กระบวนการและโอกาสการเรียนรู้ของชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และจัดการ ศึกษาให้กับชุมชนเอง และเพื่อการสืบทอดภูมิปัญญา วิถีการดาเนินชีวิต และการอนุรักษ์ธรรมชาติใน ชุมชน

มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี (มูลนิธิชุมชนเพื่อสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต)

ด้วยศูนย์เรียนรู้ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม” เป็นพื้นที่เพื่อการเรียนรู้ของคนในชุมชน เพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการดาเนินการโดยชุมชน เพื่อ ชุมชน ที่จะก่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน และเป็นสถานที่ที่จะสร้างความผูกพัน ระหว่างคนในชุมชนกับเรื่องราวของชุมชนเอง มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัด กิจกรรมการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาทางเลือก ให้เยาวชนและชุมชน ได้รับการส่งเสริมให้เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างเสริมกระบวนการและโอกาสการเรียนรู้ของชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และจัดการศึกษาให้กับชุมชนเอง และเพื่อการสืบทอด ภูมิปัญญา วิถีการดาเนินชีวิต และการอนุรักษ์ธรรมชาติในชุมชน คณะกรรมการบริหารศูนย์เรียนรู้ ชุมชน “โรงเรียนคลองโต๊ะเหล็ม” จึงได้ปรึกษาหารือกันเพื่อจัดตั้งมูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี เพื่อ ดาเนินการตามหลักการดังกล่าว โดยใช้ชื่อเต็มว่า มูลนิธินชี้ ื่อว่า มูลนิธิคลองโต๊ะเหล็มอะคาเดมี มีชื่อ ย่อว่า คตล. เรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Klong Toh Lem Academy Foundation เครื่องหมาย ของมูลนิธิ คือ รูปคล้ายต้นโกงกาง รากทั้งสามสื่อถึงรากฐานการเรียนรู้ บ้าน มัสยิด ศูนย์เรียนรู้ฯ เปรียบเสมือน รากฐานการดารงชีวิตที่ทางมูลนิธิ ต้องการปลูกฝัง ส่วนต้นและใบหมายถึงการ ดารงชีวิตที่ดีงาม เป็นดอกผลที่ดีสู่สังคม โดยมีวัตถุประสงค์ของมูลนิธินี้ คือ 1. ส่งเสริมและพัฒนา กระบวนการการศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดี มีความรู้ เชิดชูคุณธรรม ดาเนินชีวิตตามหลัก ศาสนา พัฒนาแนวคิดอย่างสร้างสรรค์ ทันต่อเหตุการณ์และความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งดารง ตนอยู่ในสังคมและธรรมชาติอย่างมีความสุข 2. ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรชุมชนให้เข้มแข็งเพื่อปกปัก รักษาป่าชุมชน เสริมสร้าง อนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนและวิถีประมงพื้นบ้านอย่างยั่งยืน 3. ดาเนินการจัดการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดโอกาส เด็กกาพร้า และเยาวชนที่สนใจในการศึกษานอก ระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยและการศึกษาทางเลือก 4. ดาเนินการหรือร่วมมือกับองค์กรการกุศลเพื่อ การกุศล และองค์กรสาธารณประโยชน์ เพื่อสาธารณประโยชน์ 5. ไม่ดาเนินการเกี่ยวข้องกับการเมือง แต่ประการใด





คัดลอกลิงค์
รายงานแคมเปญนี้
แชร์ทางอีเมล์
x
  แชร์ทางอีเมล์
x
  คัดลอกลิงค์

x
  รายงานแคมเปญนี้
( คอมเมนท์นี้จะไม่ขึ้นบนหน้า Facebook ของคุณ )
0 การบริจาค



ร่วมบริจาค









ข่าวตามสื่อต่างๆ